21
Oct2023

ขั้นตอนการจด อย.อาหาร เบื้องต้น ข้อมูลล่าสุด 2023

การจด อย.อาหาร มีขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 : สถานที่
1.1 สถานที่เก็บอาหารที่เป็น (สำนักงาน) ต้องมีคุณสมบัติ
-สถานที่ถาวรตั้งอยู่ในที่เหมาะสม
-สถานที่ตั้งมีเอกสารการจดทะเบียนบริษัท ทะเบียนพาณิชย์
-มั่นคงและถูกสุขลักษณะ

1.2 สถานที่เก็บอาหารที่เป็น (โกดังสินค้า)
-สถานที่ต้องตั้งอยู่ในที่หมาะสมไม่มีความเสี่ยงในการปนเปื้อน
-สถานที่มีลักษณะมั่นคงและถูกสุขลักษณะ มีพื้นที่หรือห้องภายในอาคารสำหรับจัดเก็บอาหารที่เป็นสัดส่วน
-สถานที่ต้องไม่อยู่รวมกับบริเวณที่พักอาศัย
-ห้องหรือบริเวณเก็บอาหารต้องสะอาด มีระบบแสงสว่าง และการระบายอากาศอย่างเพียงพอ
– ห้องหรือบริเวณเก็บอาหารต้องไม่เป็นทางเดินผ่านไปยังบริเวณอื่นๆ เช่น บริเวณที่พักอาศัย ห้องน้ำ หรือสำนักงาน ยกเว้นมีการกั้นทางเดินหรือแยกสัดส่วนให้ชัดเจน

หมายเหตุ
-พื้นที่การจัดเก็บต้องเพียงพอ มีความเหมาะสมในการจัดเก็บหากเป็นพักอาศัย ต้องแยกส่วนของที่พักอาศัยออกจากสถานที่เก็บอาหารให้เป็นสัดส่วนอย่างชัดเจนการจัดเก็บร่วมกับสินค้าอื่นจะต้องจัดเก็บอย่างเป็นสัดส่วน ไม่เก็บปะปนกัน และ ระบุมาตราการในการควบคุมการจัดเก็บ
การจัดเก็บอาหารในอาคารชุดต้องแสดงเอกสารอนุญาตให้จัดเก็บได้
-ต้องจัดทำป้ายคงทน ถาวร ชื่อแสดงประเภทอาหารหรือกลุ่มอาหารตัวอย่างการแสดงประเภทอาหาร

ระยะเวลาการพิจารณาหลังจากยื่นเอกสารครบถ้วน 15 วันทำการ
ค่าธรรมเนียมคำขอพิจารณา 5,000 บาท
ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต 15,000 บาท

ขั้นตอนที่ 2 : พิจารณาสินค้า
พรบ. อาหาร พ.ศ. 2522

ขั้นตอนที่ 3 : แนวทางการยื่นเอกสารขึ้นทะเบียน
3.1 รายการเอกสารเบื้องต้นสำหรับสถานที่ผลิต/สถานที่นำเข้า
แบบคำขอ
สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล
สำเนาทะเบียนบ้านของสถานที่ผลิต
สำเนาทะเบียนบ้านและสำเนาบัตรประชาชนของกรรมการ
ภาพถ่ายสถานที่ผลิต อุปกรณ์ เครื่องจักร
เอกสารประกอบของอุปกรณ์ เครื่องจักร
แผนที่ตั้งและพิกัดของสถานที่ผลิต
ขั้นตอนการผลิต / สูตรส่วนประกอบ
เอกสารแสดงระบบกำจัดของเสีย
ใบรับรองแพทย์
ชื่อและสูตรการผลิต 100 %
กรรมวิธีการผลิต
วิธีการบริโภค / ปริมาณในการบริโภค
ฉลากสินค้า
ผลทดสอบ (ถ้ามี)
Specification
Certificate of analysis
รายละเอียดบรรจุภัณฑ์
วิธีการเก็บรักษา / อายุการเก็บรักษา
ใบรับรองสถานที่ผลิต / นำเข้า
ข้อกำหนดคุณภาพของวัตถุดิบที่เป็นส่วนประกอบสำคัญ
เอกสารรับรองคุณภาพมาตรฐาน (ISO 22000, HACCP and FSSC )
เอกสารคำขอและเอกสารอื่นๆตามข้อกำหนดของกลุ่มอาหาร

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่

[/vc_column][/vc_row]

แอดไลน์ ขั้นตอนการจด อย.อาหาร เบื้องต้น ข้อมูลล่าสุด 2023
21
Oct2023

ขั้นตอนการจด อย.อาหาร เบื้องต้น ข้อมูลล่าสุด 2023

การจด อย.อาหาร มีขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 : สถานที่
1.1 สถานที่เก็บอาหารที่เป็น (สำนักงาน) ต้องมีคุณสมบัติ
-สถานที่ถาวรตั้งอยู่ในที่เหมาะสม
-สถานที่ตั้งมีเอกสารการจดทะเบียนบริษัท ทะเบียนพาณิชย์
-มั่นคงและถูกสุขลักษณะ

1.2 สถานที่เก็บอาหารที่เป็น (โกดังสินค้า)
-สถานที่ต้องตั้งอยู่ในที่หมาะสมไม่มีความเสี่ยงในการปนเปื้อน
-สถานที่มีลักษณะมั่นคงและถูกสุขลักษณะ มีพื้นที่หรือห้องภายในอาคารสำหรับจัดเก็บอาหารที่เป็นสัดส่วน
-สถานที่ต้องไม่อยู่รวมกับบริเวณที่พักอาศัย
-ห้องหรือบริเวณเก็บอาหารต้องสะอาด มีระบบแสงสว่าง และการระบายอากาศอย่างเพียงพอ
– ห้องหรือบริเวณเก็บอาหารต้องไม่เป็นทางเดินผ่านไปยังบริเวณอื่นๆ เช่น บริเวณที่พักอาศัย ห้องน้ำ หรือสำนักงาน ยกเว้นมีการกั้นทางเดินหรือแยกสัดส่วนให้ชัดเจน

หมายเหตุ
-พื้นที่การจัดเก็บต้องเพียงพอ มีความเหมาะสมในการจัดเก็บหากเป็นพักอาศัย ต้องแยกส่วนของที่พักอาศัยออกจากสถานที่เก็บอาหารให้เป็นสัดส่วนอย่างชัดเจนการจัดเก็บร่วมกับสินค้าอื่นจะต้องจัดเก็บอย่างเป็นสัดส่วน ไม่เก็บปะปนกัน และ ระบุมาตราการในการควบคุมการจัดเก็บ
การจัดเก็บอาหารในอาคารชุดต้องแสดงเอกสารอนุญาตให้จัดเก็บได้
-ต้องจัดทำป้ายคงทน ถาวร ชื่อแสดงประเภทอาหารหรือกลุ่มอาหารตัวอย่างการแสดงประเภทอาหาร

ระยะเวลาการพิจารณาหลังจากยื่นเอกสารครบถ้วน 15 วันทำการ
ค่าธรรมเนียมคำขอพิจารณา 5,000 บาท
ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต 15,000 บาท

ขั้นตอนที่ 2 : พิจารณาสินค้า
พรบ. อาหาร พ.ศ. 2522

ขั้นตอนที่ 3 : แนวทางการยื่นเอกสารขึ้นทะเบียน
3.1 รายการเอกสารเบื้องต้นสำหรับสถานที่ผลิต/สถานที่นำเข้า
แบบคำขอ
สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล
สำเนาทะเบียนบ้านของสถานที่ผลิต
สำเนาทะเบียนบ้านและสำเนาบัตรประชาชนของกรรมการ
ภาพถ่ายสถานที่ผลิต อุปกรณ์ เครื่องจักร
เอกสารประกอบของอุปกรณ์ เครื่องจักร
แผนที่ตั้งและพิกัดของสถานที่ผลิต
ขั้นตอนการผลิต / สูตรส่วนประกอบ
เอกสารแสดงระบบกำจัดของเสีย
ใบรับรองแพทย์
ชื่อและสูตรการผลิต 100 %
กรรมวิธีการผลิต
วิธีการบริโภค / ปริมาณในการบริโภค
ฉลากสินค้า
ผลทดสอบ (ถ้ามี)
Specification
Certificate of analysis
รายละเอียดบรรจุภัณฑ์
วิธีการเก็บรักษา / อายุการเก็บรักษา
ใบรับรองสถานที่ผลิต / นำเข้า
ข้อกำหนดคุณภาพของวัตถุดิบที่เป็นส่วนประกอบสำคัญ
เอกสารรับรองคุณภาพมาตรฐาน (ISO 22000, HACCP and FSSC )
เอกสารคำขอและเอกสารอื่นๆตามข้อกำหนดของกลุ่มอาหาร

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่

[/vc_column][/vc_row]

แอดไลน์